ต้นชาด
ข้อมูล
|
ราละเอียด
|
ภาพประกรอบ
|
ชื่อพฤกษาศาสตร์
|
Dipterocarpus tuberculatns Roxb.
|
|
วงศ์
|
DIPTEROCARPACEAE
|
|
ชื่อพื้นเมือง
|
กุง (อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี) คลง (เขมร) คลอง (เขมร) ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย) ตึง, ตึงขาว (ภาคเหนือ) พลวง, ยาง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางพลวง (ภาคกลาง) พลอง, แลเท้า (กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน)
|
|
ลักษณะทางนิเวศวิทยา
(การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ)
|
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง 20 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมเล็กน้อยใบเป็นใบประกอบ bipinnate ใบย่อยรูปไข่หรือรูปข้าวหลามตัด ผิวท้องใบมีขนสั้นๆปกคลุม ขอบใบเรียบกว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 3-10 เซนติเมตร ดอกดอกช่อออกที่ซอกใบใกล้ๆ ปลายกิ่ง จำนวน 1-3 ช่อต่อซอกใบ มักออกดอกพร้อมกับการผลิใบอ่อน ดอกย่อย มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบติดกันเป็นรูปถ้วย สีเขียวขอบถ้วยแยกเป็น 5 แฉกกลีบดอก 5 กลีบ สีเขียวแกมขาวติดกันเล็กน้อยที่ฐาน เกสรเพศผู้ มีจำนวน 10 อัน แยกกันอิสระ เกสรเพศเมีย 1 อัน ผลและเมล็ดผลแห้งแบบlegume ขนาดกว้าง 2- 3.5 เซนติเมตรยาว 10-20 เซนติเมตร เมล็ดแบน
|
|
ชนิดป่าที่พบ
|
ป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ที่พบขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศไท
|
|
ลักษณทางวัฒนวิทยา
-ลำต้น
/ ลักษณเนื้อไม้
-ใบ
-ดอก
-ผล
|
ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวของลำต้น กิ่งอ่องเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีรอยแผลใบเห็นชัด
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างขนาด 15-28 X 15-40 ซ.ม. โคนใบแผ่กว้าง แล้วหยักเว้า ปลายใบสอบทู่ เนื้อใบหนาเกลี้ยงหรืออาจมีขนกระจายห่างๆบ้าง ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-30 ซ.ม.
ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ตอนปลายกิ่ง มีกาบหุ้มช่อดอกรูปขอบขนานแคบๆ หนึ่งกาบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบบิดตามเข็มนาฬิกาเหมือนกังหัน ก่อนออกดอกจะทิ้งใบหมดหรือเกือบหมด
สี ชมพู-ชมพูเข้ม ขอบกลีบสีขาว
กลิ่น –
ออกดอก เดือน ธ.ค.-เม.ย.
ผล เป็นรูปกรวย มีสันด้านข้างผล 5 สัน และพองโตเป็นติ่ง 5 ติ่งตรงที่ติดกับโคนปีก มีปีกยาว 2 ปีก ยาว 10-15 ซ.ม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
|
|
การขยายพันธุ์
|
เพาะเมล็ด
|
|
ช่วงเวลาออกดอก-ผล
|
เดือน ธ.ค.-เม.ย.
|
|
การใช้ประโยชน์และความสำคัญ
|
เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น